หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

๖.๔ ปรากฎการณ์การตก

ถ้าสมมติว่ามีจรวดพุ่งลงสู่พื้นดาวที่มีความโน้มถ่วงสูงมาก บริเวณหัวจรวดกับท้ายจรวด จะมีเวลาที่เดินเร็วช้าไม่เท่ากัน (ท้ายจรวดเร็วกว่าหัวจรวด เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากความโน้มถ่วงน้อยกว่า) ถ้าจรวดนั้นพุ่งลงด้วยความเร่งสูงสุด เวลาที่หัวและท้ายจรวดจะต่างกันมาก ในที่สุดจะจรวดก็จะแตกออก โดยแยกเป็นหัวกับชิ้นหางออกจากกัน
เช่นเดียวกับวัตถุที่ตกจากที่สูง จะตกด้วยความเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ เพราะว่ายิ่งใกล้พื้นโลกกาล-อวกาศยิ่งบิดเบี้ยว คือเวลายิ่งเดินช้า ทำให้
วัตถุต้องเพิ่มความเร็วเพื่อให้เวลาในตัวมันเดินช้าลงสัมพันธ์กับเวลา
บนผิวโลก (ยิ่งเร็วเวลายิ่งเดินช้า) จนเมื่อมันตกถึงพื้นโลก มวลของมัน รวมเป็นเนื้อเดียวกับมวลโลก จึงหยุดเคลื่อที่สำหรับหยดน้ำเราจะเห็นมวลของน้ำมารวมกันบริเวณหัวของหยดมากกว่า เพราะด้านนั้นใกล้พื้นโลก สนามความโน้มถ่วงสูงกว่า แต่ถ้าหยดน้ำนั้นอยู่ในยานอวกาศ หยดน้ำที่ลอยอยู่จะกลมสนิท เพราะสนามโน้มถ่วงเท่ากัน
ทุกด้าน น้ำแต่ละหยดจะมีมวลน้อย เมื่อมันตกลงสู่พื้นโลกซึ่งมีความโน้มถ่วงสูง มันจึงต้องพยายามไหลเข้ามารวมกันตรงหัวหยดเพื่อเพิ่มปริมาณมวล (มวลมากทำให้เวลาเดินช้า) ถ้าเราเอาลูกโป่งใส่น้ำ แล้วปั่นให้ลูกโป่งหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว จะพบว่าลูกโป่งป่องข้าง
(เหมือนโลกเราที่ป่องข้าง ก็เพราะโลกหมุน) เหตุที่ป่องข้างก็เพราะว่ามวลพยายามไปรวมกัน ตรงด้านที่ความเร็วสูงสุด คือผิวด้านข้างของลูกโป่งส่วนตรงกลางแกนหมุน (ถ้าเปรียบกับโลกก็คือขั้วโลก) ไม่มีความเร็วเลย ดังนั้น บริเวณนี้ต้องมีมวลน้อยที่สุด ถ้าหมุนลูกโป่งเร็วขึ้นๆ จะพบว่าลูกโป่งกลายเป็นดัมเบลล์รูปหยดน้ำ โดยตรงกลางเป็นจุด และถ้าเร็วกว่านั้นอีก ลูกโป่งจะฉีกขาดออกจากกันเป็น 2 ส่วนทันที ลูกโป่งสวรรค์ มวลของอวกาศมวลที่อยู่ภายในลูกโป่ง น้อยกว่าภายนอก (มวลน้อยทำให้เวลาเดินเร็ว) ดังนั้น มันจะต้องลอยขึ้นไปสู่ระดับที่มีกาล-อวกาศสมดุลกับตัวมัน (ยิ่งสูงขึ้นจากพื้นโลกเวลาบริเวณนั้นยิ่งเดินเร็ว) มันจึงต้องลอยสูงขึ้น เหมือนกับการเล่นโคมลอยยี่เป็ง เราจุดไฟไว้ใต้โคม ก็เพราะความร้อนจะทำให้เวลาภายในโคมเดินเร็วขึ้น โคมจึงต้องลอยตัวเพื่อไปสู่ระดับกาล-อวกาศใหม่ (ยิ่งสูงเวลายิ่งเดินเร็ว)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น